Learning Log 4
วันอังคารที่ 29 สิงหาคม 2560
การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
(Science Experiences Management For Early Childhood)
วันอังคารที่ 29 สิงหาคม 2560
การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
(Science Experiences Management For Early Childhood)
ให้แต่ละกลุ่มหาขวดน้ำมากลุ่มละ 2 ขวด
เจาะรูที่ก้นขวดน้ำทั้ง 2 ใบ โดยขวดใบที่ 1
เจาะที่ใต้ก้นขวด ขวดใบที่ 2 เจาะข้างขวด 3 รู
ผลการทดลองขวดที่ 1 เจาะรู้ที่ก้นขวดน้ำ
เมื่อปิดฝา น้ำจะไม่ไหล |
เมื่อนำน้ำใส่ขวดแล้วเปิดฝาปรากฏว่าน้ำไหลออก |
ปิดฝาปรากฏว่าน้ำค่อยไหลออกจากรูที่อยู่บนสุด ไล่ลงมารูตรงกลางและรูล่างสุด
ขวดแล้วเปิดฝาปรากฏว่าน้ำไหลออกมาตามรูที่เจาะจากรูบนสุด
ไล่ลงมารูตรงกลางและรูล่างสุด โดยลักษณะการไหลของน้ำเป็นสายพุ่งออกจากรู
|
ขวดที่1 เจาะรูที่ก้นขวด
เมื่อเราเปิดฝาขวดออก จะทำให้อากาศเข้าไปในขวดน้ำได้ และแรงดันอากาศนั่นเองจะดันน้ำให้ไหลออกมาจากรูที่ถูกเจาะเอาไว้ แต่เมื่อเราปิดฝา แรงดันอากาศก็ไม่สามารถเข้าไปได้ น้ำจึงไม่ไหล
ขวดที่2 เจาะ รูที่ข้างขวด โดยต่างระดับกัน
แรงดันของน้ำบริเวณรูล่างสุดจะมากที่สุด แรงดันของน้ำบริเวณรูด้านบนจะน้อยที่สุด แรงดันของน้ำบริเวณระหว่างรูล่างสุด และบนสุดจะเท่ากัน แรงดันน้ำ ในที่ลึกจะมีแรงดันน้ำมากกว่า ส่วนบริเวณกลางๆ แรงดันน้ำก็จะคงที่ ส่วน ที่น้ำตื้นๆ แรงดันน้ำก็จะน้อย บริเวณที่ลึกที่สุด ส่งผลให้มีน้ำหนักของน้ำ หรือควารมดันของของเหลวมากที่สุด ทำให้น้ำที่ไหลออกจากรูที่ 3 มีความแรงที่สุดนั้นเอง
เมื่อเราเปิดฝาขวดออก จะทำให้อากาศเข้าไปในขวดน้ำได้ และแรงดันอากาศนั่นเองจะดันน้ำให้ไหลออกมาจากรูที่ถูกเจาะเอาไว้ แต่เมื่อเราปิดฝา แรงดันอากาศก็ไม่สามารถเข้าไปได้ น้ำจึงไม่ไหล
ขวดที่2 เจาะ รูที่ข้างขวด โดยต่างระดับกัน
แรงดันของน้ำบริเวณรูล่างสุดจะมากที่สุด แรงดันของน้ำบริเวณรูด้านบนจะน้อยที่สุด แรงดันของน้ำบริเวณระหว่างรูล่างสุด และบนสุดจะเท่ากัน แรงดันน้ำ ในที่ลึกจะมีแรงดันน้ำมากกว่า ส่วนบริเวณกลางๆ แรงดันน้ำก็จะคงที่ ส่วน ที่น้ำตื้นๆ แรงดันน้ำก็จะน้อย บริเวณที่ลึกที่สุด ส่งผลให้มีน้ำหนักของน้ำ หรือควารมดันของของเหลวมากที่สุด ทำให้น้ำที่ไหลออกจากรูที่ 3 มีความแรงที่สุดนั้นเอง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น