Learning Log 15
Learning Log 15
วันอังคารที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
(Science Experiences Management For Early Childhood)
Story of subject (เนื้อหาที่สอน)
Story of subject (เนื้อหาที่สอน)
อาจารย์ตรวจคลิปการทดลอง พร้อมให้แนะนำเกี่ยวกับคลิปการทดลองของแต่ละคน
ดิฉันได้นำเสนอการทดลองวิทยาศาสตร์ คือ
สีเต้นระบำ
เป็นการทดลองที่น้ำยาล้างจานจะทำปฏิกิริยากับไขมันในนมทำให้สีเกิดการกระจายตัว
สามารถดูการทดลองได้ที่ https://youtu.be/Sgcv_LpCo7w
การทดลองของเพื่อนๆ
เมล็ดพืชเต้นรำ
- เป็นการทดลองเกี่ยวกับการเกิดก๊าซคาร์บอนไซด์ เกร็ดความรู้ของการทดลองนี้คือ ถ้าใส่เมล็ดพืชชนิดอื่นเช่น ถั่วเขียวลงในโซดาจะเกิดปฏิกิริยากับโซดาน้อยกว่าเม็ดแมงลักเพราะ เมล็ดถั่วเขียวมีน้ำหนักมากกว่า
สามารถดูการทดลองได้ที่ https://youtu.be/Hew4mGwdD3s
หมุดลอยน้ำ
- แรงตึงผิวของน้ำสามารถรองรับน้ำหนักของเข็มหมุดได้ แต่ถ้าวางเข็มหมุดในลักษณะเอียง จะทำให้น้ำเข้าไปและทำให้เข็มหมุดจมลง เป็นหลักการเดียวกันกับเรือเพราะเรือมีช่องโปร่งตรงกลางเรือและส่วนอื่นเป็นโครงเหล็ก เรือจึงสามารถลอยน้ำได้ แต่ถ้าเรือเอียงน้ำก็จะเข้าไปและจมลง
สามารถดูการทดลองได้ที่ https://youtu.be/lH4bjPfEJLE
การละลาย
- เกลือจะละลายน้ำและเกิดการอิ่มตัวจึงทำให้ปริมาณน้ำไม่เพิ่มขึ้น แต่เมื่อใส่ทรายไปแทนที่น้ำจะทำให้ปริมาณน้ำเพิ่มมากขึ้น และเมื่อลองน้ำเกลือไปรนไฟจะเกิดการผลึกของเกลือเพราะเกิดการระเหย
สามารถดูการทดลองได้ที่ https://youtu.be/wvV4RxqIC5E
แสงเลี้ยวเบน
- โดยปกติแสงจะเดินทางเป็นเส้นตรง แต่เมื่อแสงเจอตัวกลางทำให้เกิดการหักเห และน้ำมีความหนักแน่นมากกว่าน้ำมันทำให้เกิดการหักเหน้อยกว่า
สามารถดูการทดลองได้ที่ https://youtu.be/nSq2Ak3gbck
จากนั้นอาจารย์ให้ทำกิจกรรม การ cooking เรื่องเกี๊ยวทอดผ่านการเรียนรู้แบบ STEM
ขั้นตอนที่ 1
ออกแบบ(Engineering) เกี๊ยวทอดของแต่ละคน แบ่งกลุ่มออกเป็น กลุ่ม ล่ะ 5 คน
จากนั้นให้ภายในกลุ่มเลือกว่าจะทำเกี๊ยวตามรูปแบบของใคร
เตรียมวัตถุดิบและอุปกรณ์
ขั้นตอนที่ 2
ตักวัตถุดิบตามที่แต่ละกลุ่มได้ตั้งไว้เช่น หมูคนละ 1 ช้อน มี 4 คนตัก 4 ช้อน แครอท 1 ช้อน วุ้นเส้น 1 ช้อน ไส้กรอก 1 ช้อน แผ่นเกี๊ยว 10 แผ่น (Math)
ขั้นตอนที่ 3
ห่อเกี๊ยวตามที่แต่ละกลุ่มได้ออกแบบไว้
ขั้นตอนที่ 4
ดำเนินขั้นตอนแบบกระบวนการทางวิทยาศาสตร์(Science) โดยการตั้งประเด็นปัญหาให้กับเด็ก ตั้งสมติฐาน เริ่มวิธีการทำ และสรุป
การตั้งประเด็นปัญหา : เราจะทำยังไงให้เกีียวกินได้
สมมุติฐาน : ถ้าเรานำเกีียวไปทอดเกีียวจะสุกกินได้
การทดลอง : นำเกี๊ยวลงไปทอด ให้เด็กลองเอาเกี๊ยวใส่น้ำมันทีละคน ครูต้องบอกให้เด็ก ระวังน้ำมันกระเด็นใส่ด้วย ให้เด็กสังเกตดูว่าเกิดการเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง
สรุป ถ้าเรานำเกี๊ยวไปทอดเกี๊ยวจะมีสี กลิ่น เปลี่ยนไป และเกี๊ยวจะสุกกินได้ และถ้าเราใช้ไฟที่แรงไปเกี๊ยวของเราก็จะไหม้ได้
การนำไปประยุกต์ใช้
การนำเอาการทำcookingมาบูรณาการกับSTEM /STEAM ทำให้ได้รับได้ความรู้ในเรื่องของวิทยาศาสตร์(Science) เทคโนโลยี (Technolgy) การออกแบบ(Engineering) คณิตศาสตร์(Math) และศิลปะ (Art) เพิ่มมากยิ่งขึ้น และการนำกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การประเมิน
เพื่อน: มีการวางแผนว่าจะใส่อะไรบ้าง สามัคคีช่วยเหลือกันทำกิจกรรม
ตนเอง: ช่วยทำงานกลุ่มของตนเองเป็นอย่างดี
อาจารย์: อาจารย์ได้แนะนำและให้แนวทางว่ามีขั้นตอนและวิธีการเรานำมาบูรณาการต่อยอด
คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
ความร้อน = Heat
การทอด = Frying
การทำอาหาร = Cooking
วิทยาศาสตร์ = Science
เทคโนโลยี = Technolgy
การออกแบบ = Engineering
คณิตศาสตร์ = Math
ศิลปะ = Art
วันอังคารที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
(Science Experiences Management For Early Childhood)
Story of subject (เนื้อหาที่สอน)
Story of subject (เนื้อหาที่สอน)
อาจารย์ตรวจคลิปการทดลอง พร้อมให้แนะนำเกี่ยวกับคลิปการทดลองของแต่ละคน
ดิฉันได้นำเสนอการทดลองวิทยาศาสตร์ คือ
สีเต้นระบำ
เป็นการทดลองที่น้ำยาล้างจานจะทำปฏิกิริยากับไขมันในนมทำให้สีเกิดการกระจายตัว
สามารถดูการทดลองได้ที่ https://youtu.be/Sgcv_LpCo7w
การทดลองของเพื่อนๆ
เมล็ดพืชเต้นรำ
- เป็นการทดลองเกี่ยวกับการเกิดก๊าซคาร์บอนไซด์ เกร็ดความรู้ของการทดลองนี้คือ ถ้าใส่เมล็ดพืชชนิดอื่นเช่น ถั่วเขียวลงในโซดาจะเกิดปฏิกิริยากับโซดาน้อยกว่าเม็ดแมงลักเพราะ เมล็ดถั่วเขียวมีน้ำหนักมากกว่า
สามารถดูการทดลองได้ที่ https://youtu.be/Hew4mGwdD3s
หมุดลอยน้ำ
- แรงตึงผิวของน้ำสามารถรองรับน้ำหนักของเข็มหมุดได้ แต่ถ้าวางเข็มหมุดในลักษณะเอียง จะทำให้น้ำเข้าไปและทำให้เข็มหมุดจมลง เป็นหลักการเดียวกันกับเรือเพราะเรือมีช่องโปร่งตรงกลางเรือและส่วนอื่นเป็นโครงเหล็ก เรือจึงสามารถลอยน้ำได้ แต่ถ้าเรือเอียงน้ำก็จะเข้าไปและจมลง
สามารถดูการทดลองได้ที่ https://youtu.be/lH4bjPfEJLE
การละลาย
- เกลือจะละลายน้ำและเกิดการอิ่มตัวจึงทำให้ปริมาณน้ำไม่เพิ่มขึ้น แต่เมื่อใส่ทรายไปแทนที่น้ำจะทำให้ปริมาณน้ำเพิ่มมากขึ้น และเมื่อลองน้ำเกลือไปรนไฟจะเกิดการผลึกของเกลือเพราะเกิดการระเหย
สามารถดูการทดลองได้ที่ https://youtu.be/wvV4RxqIC5E
แสงเลี้ยวเบน
- โดยปกติแสงจะเดินทางเป็นเส้นตรง แต่เมื่อแสงเจอตัวกลางทำให้เกิดการหักเห และน้ำมีความหนักแน่นมากกว่าน้ำมันทำให้เกิดการหักเหน้อยกว่า
สามารถดูการทดลองได้ที่ https://youtu.be/nSq2Ak3gbck
จากนั้นอาจารย์ให้ทำกิจกรรม การ cooking เรื่องเกี๊ยวทอดผ่านการเรียนรู้แบบ STEM
ขั้นตอนที่ 1
ออกแบบ(Engineering) เกี๊ยวทอดของแต่ละคน แบ่งกลุ่มออกเป็น กลุ่ม ล่ะ 5 คน
จากนั้นให้ภายในกลุ่มเลือกว่าจะทำเกี๊ยวตามรูปแบบของใคร
เตรียมวัตถุดิบและอุปกรณ์
ตักวัตถุดิบตามที่แต่ละกลุ่มได้ตั้งไว้เช่น หมูคนละ 1 ช้อน มี 4 คนตัก 4 ช้อน แครอท 1 ช้อน วุ้นเส้น 1 ช้อน ไส้กรอก 1 ช้อน แผ่นเกี๊ยว 10 แผ่น (Math)
ขั้นตอนที่ 3
ห่อเกี๊ยวตามที่แต่ละกลุ่มได้ออกแบบไว้
ขั้นตอนที่ 4
ดำเนินขั้นตอนแบบกระบวนการทางวิทยาศาสตร์(Science) โดยการตั้งประเด็นปัญหาให้กับเด็ก ตั้งสมติฐาน เริ่มวิธีการทำ และสรุป
การตั้งประเด็นปัญหา : เราจะทำยังไงให้เกีียวกินได้
สมมุติฐาน : ถ้าเรานำเกีียวไปทอดเกีียวจะสุกกินได้
การทดลอง : นำเกี๊ยวลงไปทอด ให้เด็กลองเอาเกี๊ยวใส่น้ำมันทีละคน ครูต้องบอกให้เด็ก ระวังน้ำมันกระเด็นใส่ด้วย ให้เด็กสังเกตดูว่าเกิดการเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง
สรุป ถ้าเรานำเกี๊ยวไปทอดเกี๊ยวจะมีสี กลิ่น เปลี่ยนไป และเกี๊ยวจะสุกกินได้ และถ้าเราใช้ไฟที่แรงไปเกี๊ยวของเราก็จะไหม้ได้
การนำไปประยุกต์ใช้
การนำเอาการทำcookingมาบูรณาการกับSTEM /STEAM ทำให้ได้รับได้ความรู้ในเรื่องของวิทยาศาสตร์(Science) เทคโนโลยี (Technolgy) การออกแบบ(Engineering) คณิตศาสตร์(Math) และศิลปะ (Art) เพิ่มมากยิ่งขึ้น และการนำกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การประเมิน
เพื่อน: มีการวางแผนว่าจะใส่อะไรบ้าง สามัคคีช่วยเหลือกันทำกิจกรรม
ตนเอง: ช่วยทำงานกลุ่มของตนเองเป็นอย่างดี
อาจารย์: อาจารย์ได้แนะนำและให้แนวทางว่ามีขั้นตอนและวิธีการเรานำมาบูรณาการต่อยอด
คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
ความร้อน = Heat
การทอด = Frying
การทำอาหาร = Cooking
วิทยาศาสตร์ = Science
เทคโนโลยี = Technolgy
การออกแบบ = Engineering
คณิตศาสตร์ = Math
ศิลปะ = Art
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น